Cดังนี้ 1. กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) โดยการลดต้น การแปล - Cดังนี้ 1. กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) โดยการลดต้น อังกฤษ วิธีการพูด

Cดังนี้ 1. กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต

Cดังนี้

1. กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) โดยการลดต้นทุนการผลิต หรือดำเนินงานที่ไม่จำเป็น เพื่อทำให้สามารถตั้งราคาขายที่ต่ำกว่าคู่แข่ง ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
1.1 วิเคราะห์ขั้นตอนการดำเนินงานทั้งหมด แล้วหาจุดบกพร่อง หรือความสูญเปล่า (Wastes) แล้วรีบดำเนินการปรับปรุง โดยปรับ หรือลดสิ่งที่ไม่จำเป็นออก แล้วทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด เช่น ขั้นตอนการปฎิบัติงานที่ซ้ำซ้อน และไม่เกิดประโยชน์ ค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ต่างๆ เป็นต้น
1.2 ส่งเสริมกิจกรรมการเพิ่มผลผลิต (Productivity)โดยเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นอ โดยการนำแนวคิด หรือเครื่องมือต่างๆ เช่น กิจกรรม 5ส. กลุ่มกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพ หรือ QCC. (Quality Control Cycle) ,การบริหารคุณภาพ ทั่วทั้งองค์การ หรือ TQM (Total Quality Management) การบำรุงรักษาทวีผล ที่ทุกคนมีส่วนร่วม หรือ TPM. (Total Preventive Maintenance) การบริหารการผลิตแบบทันเวลา หรือ JIT (Just In Time) กิจกรรมข้อเสนอแนะ (Suggestion ) กิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Kaizen) ซึ่งควรเลือกให้เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์ใช้กับ หน่วยงาน อย่างเอาจริงเอาจัง ไม่ทำแบบไฟไหม้ฟาง
1.3 ส่งเสริมทำให้พนักงานมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดความคุ้มค่า และเป็นประโยชน์สูงที่สุด ไม่ใช้แบบทิ้งๆขว้างๆ เช่น วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ก็ใช้ให้เกิดของเสียน้อยที่สุด หรือ การรณรงค์ช่วยกันปิดไฟ ปิดน้ำ เมื่อไม่ใช้งาน เป็นต้น
1.4 ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกในคุณภาพ (Quality Awareness)ให้เกิดขึ้นกับพนักงานทุกคน เพื่อลดปัญหาของเสีย หรือป้องกันปัญหาลูกค้าร้องเรียน (Customer Complain) เพราะถ้าหากพบปัญหาลูกค้าร้องเรียน นอกจากรายได้ไม่เกิดแล้วยังจะเสียลูกค้ารายได้ และชื่อเสียงของบริษัทอีกด้วย
1.5 เปลี่ยนใช้วัตถุดิบที่ราคาถูกลงโดยเป็นการค้นหา Suppliers รายใหม่ๆ ที่สามารถขายสินค้า หรือให้บริการ เช่น วัตถุดิบ (Raw Material) ที่ใช้ในการผลิต หรือให้บริการรถขนส่ง (Transportation Service) ที่มีราคาถูกว่าเดิม แต่ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ เพราะถ้าหากมัวแต่คิดที่จะเลือกของถูกอย่างเดียว โดยไม่คำนึงถึงคุณภาพแล้วละก็ อาจจะได้ ไม่คุ้มเสียนะครับ

2. กลยุทธ์ด้านการสร้างความแตกต่าง (Differentiation) โดยเป็นการสร้างความแตกต่างของสินค้า หรือบริการของเรา ให้มีความแตกต่างจากคู่แข่ง หรือของที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ๆให้กับลูกค้า และเป็นการสร้างโอกาสใหม่ๆในการขยายตลาด ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ได้ดังนี้
2.1 ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ (Research and Development) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้ดีขึ้นกว่าเดิม หรือผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้ามากที่สุด เช่น สีใหม่ๆ รสชาดใหม่ ขนาดที่ใหญ่กว่า สะดวกกว่า ประหยัดกว่า เป็นต้น
2.2 ส่งเสริมการวิจัยตลาด (Marketing Research)
เพื่อเป็นการค้นหาความต้องการของใหม่ๆผู้บริโภค ที่มีการที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน
2.3 ส่งเสริมการเรียนรู้ในองค์การ (Learning Organization) เพื่อส่งเสริมให้คนในหน่วยงานแลกเปลี่ยนแนวคิด ประสบการณ์ วิธีการทำงาน หรือเรื่องที่เป็นประโยชน์ในการทำงาน ระหว่างกันและกัน เช่น การดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ (Suggestion) เพื่อการปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) ซึ่งสิ่งที่ได้อาจนำไปสู่การปรับปรุง ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต การบริหารงาน หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่แตกต่างจากเดิม
2.4 พัฒนาความสามารถให้เป็นจุดแข็ง (Strengths Point) โดยการพัฒนาปรับปรุงความสามารถที่มีอยู่ในปัจจุบันให้เป็นความสามารถที่ไม่มีใครมาลอกเลียนแบบได้ ซึ่งจะส่งผลทำให้สินค้าของเรามีความแตกต่างกับคู่แข่งอย่างชัดเจน เมื่อลูกค้านึกถึงผลิตภัณฑ์นี้เมื่อใด ต้องนึกถึงชื่อของเราเป็นรายแรก

3. กลยุทธ์มุ่งเน้นที่จุดสนใจ (Focus)เพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่เฉพาะกลุ่มซึ่งทำให้เกิดความชัดเจนในการเลือกใช้สินค้า ซึ่งสามารถจำแนกได้หลายประเภท ซึ่งส่วนใหญ่จำแนกตาม อายุ เพศ ลักษณะการใช้ชีวิต (Life Style) เช่น ผลิตภัฑ์สำหรับเด็ก กลุ่มอายุ 0-2 ขวบ ผลิตภัณฑ์เฉพาะผู้ชาย ผลิตภัณฑ์เฉพาะวัยรุ่น เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันมีการนิยมใช้กลยุทธ์นี้กันมากขึ้น ซึ่งสามารถเห็นได้จากโฆษณาตามสื่อต่างๆ ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ดังนี้
3.1 วิเคราะห์สามารถของตนเอง (Self Analysis) เพื่อค้นหาความสามารถ หรือศักยภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน แล้วทำการเปรียบเทียบกับคู่แข่ง เพื่อเลือกจุดที่เหมาะสมกับเรามากที่สุด เช่น เน้นที่ผลิตภัณฑ์เด็ก อย่างเดียว หรือเน้นที่จะผลิตภัฑณ์เฉพาะผู้สูงอายุ เป็นต้น
3.2 ปรับปรุงกระบวนการให้สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ ผลิตภัฑ์ที่เราได้เลือกเอาไว้ เช่นปรับเปลียนระบบการผลิต การขนส่ง การบริการเป็นต้น
3.3 ทำจุดสนใจให้เด่นขึ้น เพื่อสื่อสารให้กับลูกค้าได้ทราบถึงความแตกต่าง หรือจุดเด่นที่มีในผลิตภัณฑ์ของเรา ทำให้ลูกค้านึกถึงสินค้าของเราทันที เมื่อความต้องการสินค้าชนิดนี้เกิดขึ้น ซึ่งในการโฆษณา หรือประชาสัมพันธ์นั้นควรเลือกใช้สื่อให้เหมาะสม และสอดคล้องกับกับผลิตภัฑ์ของเราด้วยนะครับ เพราะถ้าหากใช้ผิด จุดเด่นที่ต้องการอาจจะไม่โดดเด่นเหมือนที่คาดหวังเอาไว้ก็ได้
3.4 ติดตาม และประเมินผลงาน (Follow up and Evaluation)โดยติดตามผลการปฎิบัติงานที่ได้จาการดำเนินงาน แล้วทำการประเมินผลงานที่เกิดขึ้น แล้วปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้เหมาะสมตามสถานกรณ์ต่างๆ ทีมีการเปลี่ยนแปลงไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
C ดังนี้1. กลยุทธ์ การ เป็น ผู้นำ ด้าน ต้นทุน (Cost Leadership) โดย การ ลด ต้นทุน การ ผลิต หรือ ดำเนิน งาน ที่ ไม่ จำเป็น ซึ่ง สามารถ ทำได้ ดังนี้1.1 แล้ว หา จุด บกพร่อง หรือ ความ สูญ เปล่า (Wastes) แล้ว รีบ ดำเนิน การ ปรับปรุง โดย ปรับ หรือ ลด สิ่ง ที่ ไม่ จำเป็น ออก แล้ว ทำให้ เกิด ประสิทธิภาพ สูง ที่สุด เช่น ขั้น ตอน การ ป ฎิ บั ติ งาน ที่ ซ้ำซ้อน และ ไม่ เกิด ประโยชน์ ค่า ใช้ จ่าย ที่ ไม่ จำเป็น ต่างๆ เป็นต้น1.2 ส่งเสริม กิจกรรม การ เพิ่ม ผลผลิต โดย การนำ แนวคิด หรือ เครื่องมือ ต่างๆ เช่น กิจกรรม 5 ส. กลุ่ม กิจกรรม ส่งเสริม คุณภาพ หรือ QCC. (Quality Control Cycle), การ บริหาร คุณภาพ ทั่ว ทั้ง องค์การ หรือ TQM (Total Quality Management) การ บำรุง รักษา ทวี ผล ที่ ทุก คน มี ส่วน ร่วม หรือ TPM. (Total Preventive Maintenance) การ บริหาร การ ผลิต แบบ ทัน เวลา หรือ JIT (Just In Time) กิจกรรม ข้อ เสนอ แนะ (Suggestion) กิจกรรม การ ปรับปรุง อย่าง ต่อ เนื่อง (Kaizen) ซึ่ง ควร เลือก ให้ เหมาะสม แล้ว นำ มา ประยุกต์ ใช้ กับ หน่วย งาน อย่าง เอาจริงเอาจัง ไม่ ทำ แบบ ไฟ ไหม้ ฟาง1.3 และ เป็น ประโยชน์ สูง ที่สุด ไม่ ใช้ แบบ ทิ้งๆ ขว้างๆ เช่น วัตถุดิบ ที่ ใช้ ใน การ ผลิต ก็ ใช้ ให้ เกิด ของ เสีย น้อย ที่สุด หรือ การ รณรงค์ ช่วย กัน ปิด ไฟ ปิด น้ำ เมื่อ ไม่ ใช้ งาน เป็นต้น 1.4 ส่งเสริม การ สร้าง จิตสำนึก ใน คุณภาพ (Quality Awareness) ให้ เกิด ขึ้น กับ พนักงาน ทุก คน เพื่อ ลด ปัญหา ของ เสีย หรือ ป้องกัน ปัญหา ลูกค้า ร้องเรียน (Customer Complain) เพราะ ถ้า หาก พบ ปัญหา ลูกค้า ร้องเรียน และ ชื่อเสียง ของ บริษัท อีก ด้วย1.5 Suppliers ราย ใหม่ ๆ ที่ สามารถ ขาย สินค้า หรือ ให้ บริการ เช่น วัตถุดิบ (Raw Material) ที่ ใช้ ใน การ ผลิต หรือ ให้ บริการ รถ ขนส่ง (Transportation Service) ที่ มี ราคา ถูก ว่า เดิม แต่ ต้อง ไม่ ส่ง ผล กระทบ ต่อ คุณภาพ โดย ไม่ คำนึง ถึง คุณภาพ แล้ว ละ ก็ อาจ จะ ได้ ไม่ คุ้ม เสีย นะ ครับ 2. กลยุทธ์ ด้าน การ สร้าง ความ แตก ต่าง (Differentiation) หรือ บริการ ของ เรา ให้ มี ความ แตก ต่าง จาก คู่แข่ง หรือ ของ ที่ มี อยู่ ใน ปัจจุบัน ซึ่ง สามารถ ประยุกต์ ใช้ได้ ดังนี้2.1 ส่งเสริม การ วิจัย และ พัฒนา ผลิตภัณฑ์ (Research and Development) เช่น สี ใหม่ ๆ รส ชาด ใหม่ ขนาด ที่ ใหญ่ กว่า สะดวก กว่า ประหยัด กว่า เป็นต้น 2.2 ส่งเสริม การ วิจัย ตลาด (Marketing ส่งเสริม การ เรียน รู้ ใน องค์การ (Learning Organization) ประสบการณ์ วิธี การ ทำงาน ระหว่าง กันและกัน เช่น การ ดำเนิน กิจกรรม ข้อ เสนอ แนะ (Suggestion) เพื่อ การ ปรับปรุง และ พัฒนา อย่าง ต่อ เนื่อง (Continuous Improvement) ปรับ เปลี่ยน กระบวนการ ผลิต การ บริหาร งาน พัฒนา ความ สามารถ ให้ เป็น จุด แข็ง (Strength Point) ต้อง นึกถึง ชื่อ ของ เรา เป็น ราย แรก3. กลยุทธ์ มุ่ง เน้น ที่ จุด สนใจ ซึ่ง สามารถ จำแนก ได้ หลาย ประเภท ซึ่ง ส่วน ใหญ่ จำแนก ตาม อายุ เพศ ลักษณะ การ ใช้ ชีวิต (Life Style) เช่น ผลิต ภั ฑ์ สำหรับ เด็ก กลุ่ม อายุ 0-2 ขวบ ผลิตภัณฑ์ เฉพาะ ผู้ชาย ผลิตภัณฑ์ เฉพาะ วัยรุ่น เป็นต้น ซึ่ง สามารถ ประยุกต์ ใช้ ดังนี้3.1 วิเคราะห์ สามารถ ของ ตนเอง (Self Analysis) เพื่อ ค้นหา ความ สามารถ หรือ ศักยภาพ ที่ มี อยู่ ใน ปัจจุบัน แล้ว ทำการ เปรียบเทียบ กับ คู่แข่ง เช่น เน้น ที่ ผลิตภัณฑ์ เด็ก อย่าง เดียว เป็นต้น3.2 ผลิต ภั ฑ์ ที่ เรา ได้ เลือก เอา ไว้ เช่น ปรับ เป ลี ย น ระบบ การ ผลิต การ ขนส่ง การ บริการ เป็นต้น 3.3 ทำ จุด สนใจ ให้ เด่น ขึ้น หรือ จุดเด่น ที่ มี ใน ผลิตภัณฑ์ ของ เรา ซึ่ง ใน การ โฆษณา เพราะ ถ้า หาก ใช้ ผิด ติดตาม และ ประเมิน ผล งาน (Follow up and แล้ว ทำการ ประเมิน ผล งาน ที่ เกิด ขึ้น ที มี การ เปลี่ยนแปลง ไป



















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: